รายงานข้อมูลนักวิจัย
ผศ.ดร.จำเนียร มีสำลี สังกัด คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ วุฒิการศึกษา -ไม่พบข้อมูล อีเมล์ jumnian_w@g.lpru.ac.th
ผลงานวิจัย : หัวหน้าโครงการ
ลำดับ ชื่องานวิจัย ปีงบประมาณ ตำแหน่ง
1 การรีไซเคิลเศษไม้จากการเลี้ยงครั่งสู่การสร้างมูลค่าในกระบวนการเพาะเห็ด 2567 หัวหน้าโครงการวิจัย
2 โครงการย่อยที่ 3 : การพัฒนามาตรฐานการเลี้ยงปูนาและการจัดการวัตถุดิบที่มีคุณภาพสู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัย 2566 หัวหน้าโครงการวิจัย
3 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางสำหรับทำความสะอาดและบำรุงผิวจากสารสกัดพืชสมุนไพรในท้องถิ่นของชุมชนตำบลบ้านแลง อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง 2564 หัวหน้าโครงการวิจัย
4 ความต้านทานการหักล้มของข้าวเหนียวพันธุ์ กข6 ภายใต้การจัดการปุ๋ยไนโตรเจนอย่างเหมาะสม 2562 หัวหน้าโครงการวิจัย
5 การพัฒนาปุ๋ยหมักประสิทธิภาพสูงจากวัสดุก้อนเห็ดเก่า 2560 หัวหน้าโครงการวิจัย
6 การวิจัยและพัฒนาศักยภาพเห็ดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อ.แม่เมาะ จ. ลำปาง 2560 ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย
7 การเลี้ยงปูนาเพื่อการจำหน่ายและการแปรรูปอาหารท้องถิ่น 2559 หัวหน้าโครงการวิจัย
8 ประสิทธิภาพของราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาเพื่อการผลิตพริก 2559 หัวหน้าโครงการวิจัย
9 การจัดการเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาอย่างเหมาะสมเพื่อควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพริก 2558 หัวหน้าโครงการวิจัย
ผลงานวิจัย : นักวิจัยร่วมโครงการ
ลำดับ ชื่องานวิจัย ปีงบประมาณ ตำแหน่ง
1 การพัฒนารูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วม จังหวัดลำปาง 2568 นักวิจัยร่วม
2 การพัฒนารูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วม จังหวัดลำปาง 2568 นักวิจัยร่วม
3 การรีไซเคิลเศษไม้จากการเลี้ยงครั่งสู่การสร้างมูลค่าในกระบวนการเพาะเห็ด 2567 หัวหน้าโครงการวิจัย
4 โครงการย่อยที่ 3 : การพัฒนามาตรฐานการเลี้ยงปูนาและการจัดการวัตถุดิบที่มีคุณภาพสู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัย 2566 หัวหน้าโครงการวิจัย
5 โครงการย่อยที่ 1 การพัฒนาวัตถุดิบพริกลาบลำปางเพื่อเข้าสู่มาตรฐานเกษตรปลอดภัย 2566 นักวิจัยร่วม
6 โครงการย่อย 2 การเพิ่มศักยภาพการผลิตขิงปลอดภัยจากฐานภูมิปัญญาของชุมชนบ้านผาแดง อำเภองาว จังหวัดลำปาง 2566 นักวิจัยร่วม
7 การพัฒนาสูตรอาหารไก่ไข่เพื่อลดต้นทุนการผลิต ด้วยแหนแดง 2566 ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ
8 โครงการวิจัยย่อยที่ ๒ กระบวนการพัฒนาการเพาะเลี้ยงครั่งภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 2565 นักวิจัยร่วม
9 การต่อยอดการเพิ่มมูลค่าทุนทางวัฒนธรรมสินค้าข้าวสายน้ำแร่แจ้ซ้อนหนึ่งเดียวในประเทศ เพื่อการส่งเสริมนวัตกรรมชุมชนด้านการท่องเที่ยวและตลาดดิจิทัล 2565 นักวิจัยร่วม
10 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางสำหรับทำความสะอาดและบำรุงผิวจากสารสกัดพืชสมุนไพรในท้องถิ่นของชุมชนตำบลบ้านแลง อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง 2564 หัวหน้าโครงการวิจัย
11 การบูรณาการการใช้ยิปซัมที่ได้มาจากกระบวนการกำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ร่วมกับการจัดการธาตุอาหารตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อการผลิตถั่วลิสงอย่างยั่งยืน 2563 นักวิจัยร่วม
12 การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานข้าวเพื่อตอบสนองการตลาดยุคดิจิทัล 2563 นักวิจัยร่วม
13 การพัฒนาสารสกัดเข้มข้นสำหรับเวชสำอางจากเห็ดเยื่อไผ่และสมุนไพรของชุมชนในอำเภอแม่เมาะ จ.ลำปาง 2563 นักวิจัยร่วม
14 ความต้านทานการหักล้มของข้าวเหนียวพันธุ์ กข6 ภายใต้การจัดการปุ๋ยไนโตรเจนอย่างเหมาะสม 2562 หัวหน้าโครงการวิจัย
15 การจัดการห่วงโซ่อุปทานข้าวเหนียว กข 6 เพื่อพัฒนากระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นด้วยนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2562 นักวิจัยร่วม
16 การจัดการห่วงโซ่อุปาทานวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นปลอดภัยที่ตอบสนองต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและเกษตรปลอดภัย ตำบลแจ้ห่ม อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง 2561 นักวิจัยร่วม
17 การวิจัยและพัฒนาศักยภาพเห็ดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อ.แม่เมาะ จ. ลำปาง 2560 ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย
18 การพัฒนาปุ๋ยหมักประสิทธิภาพสูงจากวัสดุก้อนเห็ดเก่า 2560 หัวหน้าโครงการวิจัย
19 การบริหารจัดการงานวิจัยเชิงพื้นที่คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตข้าวแต๋น จังหวัดลำปาง 2560 นักวิจัยร่วม
20 การพัฒนาคุณภาพไข่เค็มพอกดินภูเขาไฟสู่ตลาดใหม่ 2560 นักวิจัยร่วม
21 การเลี้ยงปูนาเพื่อการจำหน่ายและการแปรรูปอาหารท้องถิ่น 2559 หัวหน้าโครงการวิจัย
22 ประสิทธิภาพของราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาเพื่อการผลิตพริก 2559 หัวหน้าโครงการวิจัย
23 การจัดการวัตถุดิบทางการเกษตรอย่างปลอดภัยเพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนในตำบลแจ้ห่ม อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง 2559 นักวิจัยร่วม
24 การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากเชื้อแอคติโนมัยสีทในการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides 2559 นักวิจัยร่วม
25 การจัดการเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาอย่างเหมาะสมเพื่อควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพริก 2558 หัวหน้าโครงการวิจัย
26 การประเมินประสิทธิภาพของเชื้อแอคติโนมัยซีสเพื่อควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคในฟักข้าว 2558 นักวิจัยร่วม
27 ประเมินอิทธิพลทางพันธุกรรมของลักษณะเมล็ดและคุณภาพการหุงต้มในข้าว (Oryza sativa L.) 2558 นักวิจัยร่วม
การเผยแพร่ผลงาน
ลำดับ ชื่อผลงาน ปีที่ขอเงินรางวัล ตำแหน่ง
1 Bamboo waste recycling using Dictyophora indusiata mycelia cultivation 2567 ผู้ร่วม
2 ราปนเปื้อนกระเทียมตัดแต่งในตำบลกล้วยแพะ อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง 0 ผู้ร่วม
3 การเพิ่มศักยภาพก้อนเห็ดเก่าด้วยสารลีโอนาร์ไดท์เพื่อการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร 0 หัวหน้า
4 การเพิ่มศักยภาพก้อนเห็ดเก่าด้วยสารลีโอนาร์ไดท์เพื่อการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร 0 หัวหน้า
5 การตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของพริกที่ปลูกในดินเนื้อปานกลาง 0 ผู้ร่วม
6 ผลของยิปซัมที่ได้จากการกำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ต่อสมบัติบางประการของดินและการเจริญเติบโตของข้าวพันธุ์สันป่าตอง 1 0 ผู้ร่วม
7 การเลี้ยงปูนาเพื่อการจำหน่ายและการแปรรูปอาหารท้องถิ่น 0 หัวหน้า
8 แป้งทัลคัม (Talcum powder) อันตรายจริงหรือ? 2560 หัวหน้า
9 แป้งทัลคัม (Talcum powder) อันตรายจริงหรือ? 2560 หัวหน้า
10 แป้งทัลคัม (Talcum powder) อันตรายจริงหรือ? 2560 หัวหน้า
11 แป้งทัลคัม (Talcum powder) อันตรายจริงหรือ? 2560 หัวหน้า
12 อิทธิพลของปุ๋ยฟอสฟอรัสต่อการพึ่งพาเชื้อราอาร์บัสดคูลาร์ไมคอร์ไรชาเพื่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริก 0 หัวหน้า
ข้อมูลบริการวิชาการ
ลำดับ ชื่องานบริการวิชาการ ปี ตำแหน่ง
1 บริการวิชาการตามพื้นที่เป้าหมาย ตำบลแจ้ห่ม อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง 2560 หัวหน้า