1 |
การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนโดยการใช้มูลไส้เดือนดินและน้ำหมักชีวภาพใบกระถินเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนในการปลูกมันสำปะหลังแบบปลอดภัย ตำบลวังทอง อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง |
2568 |
นักวิจัยร่วม |
2 |
การพัฒนาและยกระดับคุณภาพดินผสมพร้อมปลูกและปุ๋ยหมักของชุมชน |
2568 |
นักวิจัยร่วม |
3 |
การพัฒนาสูตรน้ำหมักชีวภาพจากใบกระถินเพื่อเพิ่มการเจริญเติบโต ผลผลิตของมันสำปะหลังและบูรณาการองค์ความรู้สู่โรงเรียนและชุมชนในจังหวัดลำปาง |
2567 |
นักวิจัยร่วม |
4 |
การต่อยอดนวัตกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในชุมชนด้วยทักษะวิศวกรสังคมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของจังหวัดลำปาง |
2567 |
นักวิจัยร่วม |
5 |
การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการแก้ปัญหาผักตบชวาในแม่น้ำวัง ภายใต้เศรษฐกิจพอเพียงด้วยโมเดล BCG สู่ความยั่งยืนของชุมชน |
2566 |
หัวหน้าโครงการวิจัย |
6 |
การจัดการห่วงโซ่คุณค่า สู่ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพื้นบ้าน เชิงสร้างสรรค์เพื่อการพาณิชย์ ของวิสาหกิจชุมชน ดอยหลวงดอนไฟ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง |
2566 |
นักวิจัยร่วม |
7 |
โครงการย่อย 2 การเพิ่มศักยภาพการผลิตขิงปลอดภัยจากฐานภูมิปัญญาของชุมชนบ้านผาแดง อำเภองาว จังหวัดลำปาง |
2566 |
นักวิจัยร่วม |
8 |
โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนาเทคโนโลยีเกษตรอินทรีย์ของกลุ่มผู้สูงอายุ อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง ด้วยแนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชน |
2566 |
นักวิจัยร่วม |
9 |
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม : รูปแบบการยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานรากให้พ้นขีดความยากจนอย่างมีส่วนร่วม กรณีศึกษาตำบลเวียงมอก อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง |
2565 |
นักวิจัยร่วม |
10 |
โครงการวิจัยย่อยที่ ๑ ยกระดับมาตรฐานการผลิตเชียงดาและการศึกษาระยะ การเก็บเกี่ยวเชียงดาที่มีกรดจิมเนมิกสูง |
2565 |
นักวิจัยร่วม |
11 |
โครงการวิจัยย่อยที่ ๒ กระบวนการพัฒนาการเพาะเลี้ยงครั่งภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง |
2565 |
นักวิจัยร่วม |
12 |
โครงการร่วมสร้างนวัตกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชนต.ปงยางคก ด้วยทักษะวิศวกรสังคม |
2565 |
นักวิจัยร่วม |
13 |
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผักปลอดสารพิษด้วยนวัตกรรมพร้อมใช้และกระบวนการจัดการกลุ่มสำหรับส่งเสริมให้เกิดกิจการเพื่อสังคมในพื้นที่ตำบลหัวเมือง อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง |
2564 |
นักวิจัยร่วม |
14 |
การประเมินโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลและส่งเสริมศักยภาพการพัฒนาตำบลอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาตำบลเวียงมอก |
2564 |
นักวิจัยร่วม |
15 |
การพัฒนาสูตรปุ๋ยมูลไส้เดือนดินจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในชุมชนของกลุ่มเกษตรกรบ้านปู่จ้อย |
2563 |
หัวหน้าโครงการวิจัย |
16 |
การพัฒนาการผลิตวัตถุดิบน้ำพริกลาบด้วยวิธีการเกษตรปลอดภัยภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง |
2563 |
นักวิจัยร่วม |
17 |
การพัฒนาสารสกัดจากขอบชะนางเพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนสมะม่วง |
2563 |
นักวิจัยร่วม |
18 |
การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานข้าวเพื่อตอบสนองการตลาดยุคดิจิทัล |
2563 |
นักวิจัยร่วม |
19 |
กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน : บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง |
2562 |
นักวิจัยร่วม |
20 |
การพัฒนาแนวทางการสร้างนวัตกรรมเพื่อการเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมของชุมชนในตำบลวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง |
2562 |
นักวิจัยร่วม |
21 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่การรับรอง การผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม ของกลุ่มอาชีพแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากล้วย บ้านป่าจ้ำ ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง |
2562 |
นักวิจัยร่วม |
22 |
การพัฒนาปุ๋ยหมักประสิทธิภาพสูงจากวัสดุก้อนเห็ดเก่า |
2560 |
นักวิจัยร่วม |
23 |
โครงการวิจัยย่อยที่ ๙ : การศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในตำบลแม่ลาน อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน |
2560 |
นักวิจัยร่วม |
24 |
โครงการวิจัยย่อยที่ ๗ : แนวทางการพัฒนานวัตกรรมด้านการเกษตรท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลยางเนิ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ |
2560 |
นักวิจัยร่วม |
25 |
โครงการวิจัยย่อยที่ ๑๐ : การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนานวัตกรรมพื้นบ้านในการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกร ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน |
2560 |
นักวิจัยร่วม |
26 |
โครงการวิจัยย่อยที่ ๑๑ : การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนานวัตกรรมพื้นบ้านในการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกร ตำบลหนองป่าก่อ อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย |
2560 |
นักวิจัยร่วม |
27 |
โครงการวิจัยย่อยที่ ๑๓ : กระบวนการขับเคลื่อนเพื่อเพิ่มจำนวนเกษตรกรในการทำเกษตรอินทรีย์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลแม่มอก อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง |
2560 |
นักวิจัยร่วม |
28 |
โครงการวิจัยย่อยที่ ๑๙ : ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการจัดการธนาคารขยะของชุมชนบ้านใหม่พัฒนาใต้ ตำบลหนองป่าก่อ อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย |
2560 |
นักวิจัยร่วม |
29 |
การศึกษาเปรียบเทียบวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติที่ต่างชนิดกันต่อการทำ ปุ๋ยหมัก ภายใต้การมีส่วนร่วมของเกษตรกร ตำบล ป่าตัน อำเภอ แม่ทะ จังหวัดลำปาง |
2559 |
หัวหน้าโครงการวิจัย |
30 |
การจัดการวัตถุดิบทางการเกษตรอย่างปลอดภัยเพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนในตำบลแจ้ห่ม อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง |
2559 |
นักวิจัยร่วม |
31 |
การศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อผลิตผักกาดกวางตุ้งปลอดสารเคมี: กรณีศึกษา บ้านหนองนาว อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง |
2559 |
นักวิจัยร่วม |
32 |
การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากเชื้อแอคติโนมัยสีทในการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides |
2559 |
นักวิจัยร่วม |
33 |
ประสิทธิภาพการเป็นปุ๋ยจากของเหลือทิ้งกระเทียม |
2558 |
นักวิจัยร่วม |