ข้อมูลโครงการวิจัย | รายละเอียดงานวิจัย
ชื่อโครงการ
[ไทย]
ผลกระทบของคุณลักษณะการเป็นพลเมืองอาเซียนต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
[Eng]
The Influence of ASEAN Citizenshipon the Competitive Advantage of the Northern Region Industrial Estate Businesses
ลักษณะโครงการ
โครงการต่อเนื่อง
ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
งบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณภายใน
ประเภทแหล่งทุนที่ 1
งบรายได้
[งบประมาณ 40,000.00 บาท]
ข้อมูลวิจัย
คำสำคัญ
[ไทย] คุณลักษณะการเป็นพลเมืองอาเซียน ความได้เปรียบทางการแข่งขัน นิคมอุตสาหกรรมลำพูน การจัดการทรัพยากรมนุษย์,สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรืออาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 มีประเทศสมาชิกรวม 10 ประเทศ แบ่งเป็นสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงค์โปร์ ไทย และบรูไนดารุสซาลาม และกลุ่มสมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ ได้แก่ ลาว พม่า เวียดนาม และกัมพูชา หรือเรียกว่า กลุ่ม CLMV โดยสมาชิกในกลุ่มได้มีความตกลงให้เร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) นั้นส่งผลให้ประเทศสมาชิกต่างๆ เกิดความพยายามในการขับเคลื่อนและเตรียมการเพื่อก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนให้ทันตามกำหนดเวลาในทุกมิติอย่างเป็นรูปธรรมและจริงจังมากขึ้น
[Eng]
ประเภทการวิจัย
การวิจัยประยุกต์
วันที่เริ่มต้นการทำวิจัย
01-10-2557
วันที่สิ้นสุดการทำวิจัย
30-09-2558
หน่วยงานที่สนับสนุนการทำวิจัย
ข้อมูลยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ยุทธศาสตร์)
-
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (เป้าประสงค์)
-
ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ชาติ (ยุทธศาสตร์)
-
ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ชาติ (เป้าประสงค์)
-
ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม (ยุทธศาสตร์)
-
ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม (ประเด็นยุทธศาสตร์)
-
ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม (แผนงาน)
-
ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น
อุตสาหกรรมและคลัสเตอร์เป้าหมาย
ประเภทงานวิจัย
สาขาการวิจัยหลัก OECD *
-
สาขาการวิจัยย่อย OECD *
-
สาขา ISCED (รหัสย่อย1)*
-
สาขา ISCED (รหัสย่อย2)*
-
ข้อมูลทีมนักวิจัย
ศิรญา จนาศักดิ์
หัวหน้าโครงการวิจัย
ตำแหน่งที่รับผิดชอบ
หัวหน้าโครงการวิจัย
สัดส่วนการมีส่วนร่วม
100%
เวลาที่ทำวิจัย (ชั่วโมง/สัปดาห์)
สัดส่วนงบประมาณ
40,000.00